งานพัฒนายุทธศาสตร์ราชวิถี 2

การสัมภาษณ์ (ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)

โครงการศึกษาวิจัยและจัดทำยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี2(รังสิต) ปี พ.ศ. 2564-2568

การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาภาพอนาคตของโรงพยาบาลราชวิถีในปี พ.ศ.2564 – 2568  เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาวิเคราะห์และจัดทำยุทธศาสตร์โรงพยาบาลราชวิถี2 (รังสิต))  ปี พ.ศ. 2564-2568 อันจะทำให้ โรงพยาบาลราชวิถี2 (รังสิต) มีทิศทางในการพัฒนาองค์กร จัดเตรียมระบบและบุคลากรให้สามารถตอบสนองงานด้านการเป็นศูนย์การแพทย์ชั้นนำระดับนานาชาติในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทั้งนี้ที่ปรึกษาได้สัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลราชวิถี 2 จำนวน 5 ท่าน รายชื่อดังนี้

  1. นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์  ( 27 ตุลาคม 2564)
  2. นายแพทย์ณัฐพงศ์ วงศ์วิวัฒน์ รองอธิบดี กรมการแพทย์ ( 11 ตุลาคม 2564)
  3. นายแพทย์จินดา โรจนเมธินทร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชวิถี ( 10 พฤศจิกายน 2564)
  4. นายแพทย์ภุชงค์ ไชยชิน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี ( 15 ตุลาคม 2564)
  5. ร้อยตำรวจเอก ดร.ตรีลุพธ์ ธูปกระจ่าง นายกเทศมนตรีนครรังสิต   ( 28 ตุลาคม 2564)

 

สรุปได้ว่าผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียมีความคาดหวังต่อการก่อตั้งโรงพยาบาลราชวิถี 2(รังสิต) คือ
การให้บริการด้านสุขภาพแก่ประชาชนทั่วไป การให้บริการศูนย์อุบัติเหตุและฉุกเฉิน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสิทธิ์ในการรักษาพยาบาลอย่างเต็มที่ มีการกำหนดเป้าหมายในการให้บริการโดยยึดหลัก Personal based ให้บริการประชาชนในระดับพรีเมี่ยมแต่มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด

ณ 30 พฤศจิกายน 2564
%e0%b8%a0%e0%b8%b2%e0%b8%9e%e0%b8%82%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b8%b4%e0%b8%94%e0%b8%89%e0%b8%b8%e0%b8%81%e0%b9%80%e0%b8%89%e0%b8%b4%e0%b8%99
1-%e0%b8%ad%e0%b8%98%e0%b8%b4%e0%b8%9a%e0%b8%94%e0%b8%b5

2-%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%98%e0%b8%b4%e0%b8%9a%e0%b8%94%e0%b8%b5

3-%e0%b8%9c%e0%b8%b9%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%b3%e0%b8%99%e0%b8%a7%e0%b8%a2%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3-%e0%b8%a3%e0%b8%9e-%e0%b8%a3%e0%b8%b2%e0%b8%8a%e0%b8%a7%e0%b8%b4%e0%b8%96%e0%b8%b5

4-%e0%b8%aa%e0%b8%aa%e0%b8%88-%e0%b8%9b%e0%b8%97%e0%b8%b8%e0%b8%a1%e0%b8%98%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%b5

5-%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b8%81%e0%b9%80%e0%b8%97%e0%b8%a8%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b8%b5%e0%b8%99%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%b4%e0%b8%95

Accessibility